ปรับแต่งการตั้งค่าการให้ความยินยอม

เราใช้คุกกี้เพื่อช่วยให้คุณสามารถไปยังส่วนต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำหน้าที่บางอย่าง คุณจะพบข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ทั้งหมดภายใต้หมวดหมู่ความยินยอมแต่ละประเภทด้านล่าง คุกกี้ที่ได้รับการจัดหมวดหมู่ว่า "จำเป็น" จะถูกจัดเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณ เนื่องจากมีความจำเป็นต่อการทำงานของฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์... 

ใช้งานอยู่เสมอ

คุกกี้ที่จำเป็นมีความสำคัญต่อฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์ และเว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์หากไม่มีคุกกี้เหล่านี้

คุกกี้เหล่านี้ไม่จัดเก็บข้อมูลที่สามารถระบุตัวบุคคลได้

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้แบบฟังก์ชันนอลช่วยทำหน้าที่บางอย่าง เช่น แบ่งปันเนื้อหาของเว็บไซต์บนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย รวบรวมความคิดเห็น และฟีเจอร์อื่นๆ ของบุคคลที่สาม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้วิเคราะห์ใช้เพื่อทำความเข้าใจวิธีการที่ผู้เยี่ยมชมโต้ตอบกับเว็บไซต์ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัด เช่น จำนวนผู้เข้าชม อัตราตีกลับ แหล่งที่มาของการเข้าชม ฯลฯ

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อทำความเข้าใจและวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิภาพหลักของเว็บไซต์ซึ่งจะช่วยให้สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีขึ้นแก่ผู้เยี่ยมชม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้โฆษณาใช้เพื่อส่งโฆษณาที่ได้รับการปรับแต่งตามการเข้าชมก่อนหน้านี้ และวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแคมเปญโฆษณา

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

โรคไข้เลือดออก Vs โรคมาลาเรีย ต่างกันอย่างไร ?

ในช่วงเข้าใกล้ฤดูฝนอย่างนี้ สิ่งที่มาพร้อมกับสายฝนคงจะหนีไม่พ้นแน่ๆกับ “ยุง” และ โรคภัยที่มาจากยุง แต่มี 2 โรค ที่มียุงเป็นพาหะนำเชื้อเหมือนกันแต่จะ ต่างกันอย่างไร ทำยังไงเราถึงจะแยกออกกันน้า ?!?

โรคไข้เลือดออก

“ยุงลาย” เป็นพาหะนำโรค ตัวโรคไข้เลือดออกนี้เกิดจากการติดเชื้อไวรัสแดงกี ระบาดในช่วงฤดูฝน

สังเกตอาการ

– ไข้สูงลอย

– ผื่นแดงจำนวนมาก

– ปวดเมื่อย

– เกล็ดเลือดต่ำ มีเลือดออก

** เมื่อพบว่ามีอาการตามข้างต้น ควรรีบพบแพทย์ทันที **

โรคมาลาเรีย

“ยุงก้นป่อง” เป็นพาหะนำโรค มาลาเรีย ติดต่อจากคนสู่คนได้ง่าย และสามารถแพร่กระจ่ายได้เป็นวงกว้าง

สังเกตอาการ

ระยะแรก – หนาวสั่น เริ่มมีไข้

ระยะร้อน – มีไข้สูง 40 องศาเซลเซียส ตัวร้อนเป็นเวลา 1-2 ชั่วโมง

ระยะหนาวสั่น – เมื่อมีไข้ลดลงจะมีเหงื่อออกและเข้าสู่ภาวะปกติ ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง

จาก “ยุง” ที่เป็นพาหะนำโรคที่ “แตกต่างกัน” อาการของผู้ป่วยก็จะมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

*

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.