การบันทึกประวัติการแพ้ยา(เพิ่มเติม)
จากบทความที่แล้วเรื่องบันทึกประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยรอบนี้จะกล่าวถึงกรณี มีการแพ้ยาเพิ่มเติมนะครับ ว่าจะมีวิธีการเพิ่มอย่างไร ถึงจะถูกหลักการ ถูกต้องตามหลักการบันทึกประวัติการแพ้ยา มาดูวิธีการบันทึกเพิ่มเติมครับ
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 4
ขั้นตอนที่ 5
อธิบายเพิ่มเติม
อาการที่แพ้ : ใส่ตามลักษณะอาการที่พบ เช่น มีผื่นตามตัว ฯลฯ
ความร้ายแรง : ใส่ตามลักษณะความรุนแรงของการแพ้ยาชนิดนั้นๆ ในครั้งที่พบ
ผลที่เกิดขึ้นภายหลัง : ผลที่เกิดขั้นหลังมีอาการแพ้ยาดังกล่าวถึงตอนนี้
สาเหตุการเกิด : Cardiovascular disorder (ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด) Blood and lymphatic system disorder (ความผิดปกติของเลือดและต่อมน้ำเหลือง)
ระดับความสัมพันธ์ : ระดับความสัมพันธ์ของยาต่ออาการที่เกิดขั้น
Certain = แน่นอน
Probable = น่าจะใช่
Possible = เป็นไปได้
Unlikely = ไม่ใช่
Unclassified = ไม่สามารถจำแนกได้
ผลที่เกิดขึ้นภายหลัง : ผลที่เกิดขั้นหลังมีอาการแพ้ยาดังกล่าวถึงตอนนี้
นี่คือ ขั้นตอนการลงบันทึกประวัติการแพ้ยาเพิ่มเติมของผู้ป่วย คนเดิมที่เคยมีการบันทึกประวัติไว้แล้ว ไม่ยากเกิน แต่ต้องทำตามขั้นตอนนะครับ ไม่เช่นนั้นแล้วอาจส่งผลต่อการส่งออกที่ติดข้อผิดพลาดตรงนี้ได้ ทำให้แฟ้มส่งออกไม่สมบูรณ์ได้นะครับ ติดตามบทความที่น่าในใหม่ ในบทความหน้าครับ